กระทรวงมหาดไทย ขีดเส้นตาย ส่งรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 31 ต.ค. 65 พร้อมกำชับทุกจังหวัดดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คนไทยอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข พร้อมสั่งจัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และพล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แสดงเจตนารมณ์ในการประกาศสงครามกับยาเสพติด จึงขอให้ทุกจังหวัดทุ่มเทในการดำเนินการเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
โดยเร่งรัด Re X-Ray จัดทำรายชื่อผู้เสพ ผู้ค้า ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2565 อย่างละเอียดรอบคอบ จริงจัง เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับรัฐบาลในการวางแผนแก้ไขปัญหายาเสพติด พร้อมทั้งดำเนินงานโต๊ะข่าวยาเสพติดอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์เพื่อหารือร่วมกับภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ทั้งท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานด้านการบำบัดรักษา ด้านการป้องกันผู้เสพหน้าใหม่ ด้านการป้องกันและปราบปราม
และดำเนินการ Re X-ray สุ่มตรวจหาสารเสพติดในร่างกายบุคลากรในสังกัด แยกประเภทของผู้ติดยาเสพติด แบบเรื้อรัง/โรคจิตเวช เพราะต้องใช้ระยะเวลาในการบำบัดรักษาเป็นพิเศษ จัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง โดยทำให้ผู้เข้ารับการบำบัดได้รับการดูแลในสายตาผู้ปกครอง ในสถานที่ที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
พร้อมสนธิกำลัง อปพร. อสม. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตำรวจ อปท. และข้าราชการในพื้นที่ ช่วยกันดูแลและขยายผลสถานที่บำบัดให้กลายเป็นสถานที่ฟื้นฟู ตลอดจนกำหนดหลักสูตร/รูปแบบการบำบัดฟื้นฟู วางระบบติดตามหลังการบำบัดรักษาฟื้นฟู รวมถึงการใช้ทุกช่องทางประชาสัมพันธ์ให้คนเห็นถึงพิษภัยของยาเสพติด เพื่อเป็นหูเป็นตาแจ้งเบาะแสผ่านศูนย์ดำรงธรรม 1567 และผู้นำท้องที่ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมเสริมสร้างความรัก สามัคคีในชุมชน ในครอบครัว และที่สำคัญช่วยเป็นกำลังใจให้กับผู้ที่หลงผิดไปติดยา ให้เขามีโอกาสกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดีของพ่อแม่และสังคมต่อไป
กระทรวงมหาดไทย ขีดเส้นตาย ส่งรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 31 ต.ค. 65 พร้อมกำชับทุกจังหวัดดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คนไทยอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข พร้อมสั่งจัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และพล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แสดงเจตนารมณ์ในการประกาศสงครามกับยาเสพติด จึงขอให้ทุกจังหวัดทุ่มเทในการดำเนินการเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
โดยเร่งรัด Re X-Ray จัดทำรายชื่อผู้เสพ ผู้ค้า ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2565 อย่างละเอียดรอบคอบ จริงจัง เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับรัฐบาลในการวางแผนแก้ไขปัญหายาเสพติด พร้อมทั้งดำเนินงานโต๊ะข่าวยาเสพติดอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์เพื่อหารือร่วมกับภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ทั้งท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานด้านการบำบัดรักษา ด้านการป้องกันผู้เสพหน้าใหม่ ด้านการป้องกันและปราบปราม
และดำเนินการ Re X-ray สุ่มตรวจหาสารเสพติดในร่างกายบุคลากรในสังกัด แยกประเภทของผู้ติดยาเสพติด แบบเรื้อรัง/โรคจิตเวช เพราะต้องใช้ระยะเวลาในการบำบัดรักษาเป็นพิเศษ จัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง โดยทำให้ผู้เข้ารับการบำบัดได้รับการดูแลในสายตาผู้ปกครอง ในสถานที่ที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
พร้อมสนธิกำลัง อปพร. อสม. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตำรวจ อปท. และข้าราชการในพื้นที่ ช่วยกันดูแลและขยายผลสถานที่บำบัดให้กลายเป็นสถานที่ฟื้นฟู ตลอดจนกำหนดหลักสูตร/รูปแบบการบำบัดฟื้นฟู วางระบบติดตามหลังการบำบัดรักษาฟื้นฟู รวมถึงการใช้ทุกช่องทางประชาสัมพันธ์ให้คนเห็นถึงพิษภัยของยาเสพติด เพื่อเป็นหูเป็นตาแจ้งเบาะแสผ่านศูนย์ดำรงธรรม 1567 และผู้นำท้องที่ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมเสริมสร้างความรัก สามัคคีในชุมชน ในครอบครัว และที่สำคัญช่วยเป็นกำลังใจให้กับผู้ที่หลงผิดไปติดยา ให้เขามีโอกาสกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดีของพ่อแม่และสังคมต่อไป
กระทรวงมหาดไทย ขีดเส้นตาย ส่งรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 31 ต.ค. 65 พร้อมกำชับทุกจังหวัดดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คนไทยอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข พร้อมสั่งจัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และพล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แสดงเจตนารมณ์ในการประกาศสงครามกับยาเสพติด จึงขอให้ทุกจังหวัดทุ่มเทในการดำเนินการเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
โดยเร่งรัด Re X-Ray จัดทำรายชื่อผู้เสพ ผู้ค้า ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2565 อย่างละเอียดรอบคอบ จริงจัง เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับรัฐบาลในการวางแผนแก้ไขปัญหายาเสพติด พร้อมทั้งดำเนินงานโต๊ะข่าวยาเสพติดอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์เพื่อหารือร่วมกับภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ทั้งท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานด้านการบำบัดรักษา ด้านการป้องกันผู้เสพหน้าใหม่ ด้านการป้องกันและปราบปราม
และดำเนินการ Re X-ray สุ่มตรวจหาสารเสพติดในร่างกายบุคลากรในสังกัด แยกประเภทของผู้ติดยาเสพติด แบบเรื้อรัง/โรคจิตเวช เพราะต้องใช้ระยะเวลาในการบำบัดรักษาเป็นพิเศษ จัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง โดยทำให้ผู้เข้ารับการบำบัดได้รับการดูแลในสายตาผู้ปกครอง ในสถานที่ที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
พร้อมสนธิกำลัง อปพร. อสม. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตำรวจ อปท. และข้าราชการในพื้นที่ ช่วยกันดูแลและขยายผลสถานที่บำบัดให้กลายเป็นสถานที่ฟื้นฟู ตลอดจนกำหนดหลักสูตร/รูปแบบการบำบัดฟื้นฟู วางระบบติดตามหลังการบำบัดรักษาฟื้นฟู รวมถึงการใช้ทุกช่องทางประชาสัมพันธ์ให้คนเห็นถึงพิษภัยของยาเสพติด เพื่อเป็นหูเป็นตาแจ้งเบาะแสผ่านศูนย์ดำรงธรรม 1567 และผู้นำท้องที่ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมเสริมสร้างความรัก สามัคคีในชุมชน ในครอบครัว และที่สำคัญช่วยเป็นกำลังใจให้กับผู้ที่หลงผิดไปติดยา ให้เขามีโอกาสกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดีของพ่อแม่และสังคมต่อไปกระทรวงมหาดไทย ขีดเส้นตาย ส่งรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 31 ต.ค. 65 พร้อมกำชับทุกจังหวัดดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คนไทยอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข พร้อมสั่งจัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และพล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แสดงเจตนารมณ์ในการประกาศสงครามกับยาเสพติด จึงขอให้ทุกจังหวัดทุ่มเทในการดำเนินการเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
โดยเร่งรัด Re X-Ray จัดทำรายชื่อผู้เสพ ผู้ค้า ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2565 อย่างละเอียดรอบคอบ จริงจัง เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับรัฐบาลในการวางแผนแก้ไขปัญหายาเสพติด พร้อมทั้งดำเนินงานโต๊ะข่าวยาเสพติดอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์เพื่อหารือร่วมกับภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ทั้งท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานด้านการบำบัดรักษา ด้านการป้องกันผู้เสพหน้าใหม่ ด้านการป้องกันและปราบปราม
และดำเนินการ Re X-ray สุ่มตรวจหาสารเสพติดในร่างกายบุคลากรในสังกัด แยกประเภทของผู้ติดยาเสพติด แบบเรื้อรัง/โรคจิตเวช เพราะต้องใช้ระยะเวลาในการบำบัดรักษาเป็นพิเศษ จัดเตรียมสถานที่บำบัดรักษา อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หรือตำบลละ 1 แห่ง โดยทำให้ผู้เข้ารับการบำบัดได้รับการดูแลในสายตาผู้ปกครอง ในสถานที่ที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
พร้อมสนธิกำลัง อปพร. อสม. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตำรวจ อปท. และข้าราชการในพื้นที่ ช่วยกันดูแลและขยายผลสถานที่บำบัดให้กลายเป็นสถานที่ฟื้นฟู ตลอดจนกำหนดหลักสูตร/รูปแบบการบำบัดฟื้นฟู วางระบบติดตามหลังการบำบัดรักษาฟื้นฟู รวมถึงการใช้ทุกช่องทางประชาสัมพันธ์ให้คนเห็นถึงพิษภัยของยาเสพติด เพื่อเป็นหูเป็นตาแจ้งเบาะแสผ่านศูนย์ดำรงธรรม 1567 และผู้นำท้องที่ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมเสริมสร้างความรัก สามัคคีในชุมชน ในครอบครัว และที่สำคัญช่วยเป็นกำลังใจให้กับผู้ที่หลงผิดไปติดยา ให้เขามีโอกาสกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดีของพ่อแม่และสังคมต่อไป