ปากเสียงของคนท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาประเทศ
คุณภาพชีวิต ย้อนกลับ
สบส.เตือนคลินิกห้ามผู้ป่วยค้างคืน
13 พ.ค. 2562

กรม สบส.เตือนคลินิกทุกแห่ง ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ชี้เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ และผิดกฎหมาย

          กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เตือนผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกทุกแห่ง ให้ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดห้ามให้ผู้รับบริการพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก ชี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ-ชีวิตของผู้ป่วย และผิดกฎหมายสถานพยาบาล 

          ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (กรม สบส.) กระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ปัจจุบัน สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกที่ให้บริการเสริมความงาม ส่วนใหญ่มักจะมีการศัลยกรรมเสริมความงามในรูปแบบต่างๆ  อาทิ การเสริมจมูก เสริมหน้าอก หรือปรับหน้าให้เรียว (V Shape) ฯลฯ ซึ่งบริการเสริมความงามดังกล่าวนั้นล้วนจะต้องกระทำในห้องผ่าตัด โดยการให้บริการห้องผ่าตัดประจำคลินิกนั้น ไม่ว่าจะเป็นห้องผ่าตัดขนาดเล็ก หรือใหญ่จะต้องขออนุญาตกับกรม สบส.หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เสียก่อน  และจะต้องจัดให้มีเตียงพักฟื้น 1.5 เตียง ต่อ 1 ห้องผ่าตัด ดังนั้น หากคลินิกมีห้องผ่าตัด 1 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 2 เตียง และหากมีห้องผ่าตัด 2 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 3 เตียง เพื่อดูอาการผู้ป่วยหลังผ่าตัดให้มีความปลอดภัย  โดยให้ผู้ป่วยพักฟื้นที่คลินิกในช่วงระยะเวลาที่คลินิกขออนุญาตดำเนินการ

          ทันตแพทย์อาคม กล่าวต่อว่า ด้วยการที่ประชาชนมีแนวโน้มที่จะเข้ารับบริการศัลยกรรมเสริมความงามจากคลินิกมากขึ้นในทุกๆปี  สิ่งที่น่าเป็นกังวล คือ การที่คลินิกให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือค้างคืนที่คลินิก อาจจะด้วยผู้รับบริการเสียเลือดมาก หรือเลือดไม่หยุดไหลจากแผลผ่าตัด หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ  ซึ่งไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตามก็ถือว่าเป็นการสร้างความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ป่วย เพราะการให้ผู้ป่วยพักฟื้นนอกเวลาทำการ หรือค้างคืนเพื่อดูอาการนั้น สถานพยาบาลจะต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพคอยดูแลและเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ซึ่งสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิก อาจจะมิได้เตรียมความพร้อมในด้านบุคลากร และอุปกรณ์ไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เฉกเช่นสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือโรงพยาบาล ทำให้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที  อีกทั้ง พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541  ได้กำหนดให้ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลจะต้องตระหนักถึงสุขภาพ และชีวิตผู้ป่วยเป็นอันดับหนึ่ง หากผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้นหรือมีโอกาสที่จะทรุดตัวลงจะต้องรีบส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการดูแลทันที การปล่อยให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก จึงเป็นการกระทำผิดกฎหมายสถานพยาบาล ฐานประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะการให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการ จะมีโทษตามกฎหมาย

          ทั้งนี้ หากประชาชนมีเบาะแสการกระทำผิดของสถานพยาบาล ในเขตกรุงเทพฯ สามารถแจ้งได้ที่ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนกรม สบส.ทางหมายเลขโทรศัพท์ 02 193 7000 ต่อ 18618 หรือทางเฟซบุ๊ก : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สบส. กระทรวงสาธารณสุข ในวันและเวลาราชการ แต่หากอยู่ในส่วนภูมิภาคสามารถแจ้งได้ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ เพื่อร่วมคุ้มครองประชาชนให้ได้รับบริการทางการแพทย์ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย 

กรม สบส.เตือนคลินิกทุกแห่ง ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ชี้เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ และผิดกฎหมาย

          กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เตือนผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกทุกแห่ง ให้ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดห้ามให้ผู้รับบริการพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก ชี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ-ชีวิตของผู้ป่วย และผิดกฎหมายสถานพยาบาล 

          ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (กรม สบส.) กระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ปัจจุบัน สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกที่ให้บริการเสริมความงาม ส่วนใหญ่มักจะมีการศัลยกรรมเสริมความงามในรูปแบบต่างๆ  อาทิ การเสริมจมูก เสริมหน้าอก หรือปรับหน้าให้เรียว (V Shape) ฯลฯ ซึ่งบริการเสริมความงามดังกล่าวนั้นล้วนจะต้องกระทำในห้องผ่าตัด โดยการให้บริการห้องผ่าตัดประจำคลินิกนั้น ไม่ว่าจะเป็นห้องผ่าตัดขนาดเล็ก หรือใหญ่จะต้องขออนุญาตกับกรม สบส.หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เสียก่อน  และจะต้องจัดให้มีเตียงพักฟื้น 1.5 เตียง ต่อ 1 ห้องผ่าตัด ดังนั้น หากคลินิกมีห้องผ่าตัด 1 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 2 เตียง และหากมีห้องผ่าตัด 2 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 3 เตียง เพื่อดูอาการผู้ป่วยหลังผ่าตัดให้มีความปลอดภัย  โดยให้ผู้ป่วยพักฟื้นที่คลินิกในช่วงระยะเวลาที่คลินิกขออนุญาตดำเนินการ

          ทันตแพทย์อาคม กล่าวต่อว่า ด้วยการที่ประชาชนมีแนวโน้มที่จะเข้ารับบริการศัลยกรรมเสริมความงามจากคลินิกมากขึ้นในทุกๆปี  สิ่งที่น่าเป็นกังวล คือ การที่คลินิกให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือค้างคืนที่คลินิก อาจจะด้วยผู้รับบริการเสียเลือดมาก หรือเลือดไม่หยุดไหลจากแผลผ่าตัด หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ  ซึ่งไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตามก็ถือว่าเป็นการสร้างความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ป่วย เพราะการให้ผู้ป่วยพักฟื้นนอกเวลาทำการ หรือค้างคืนเพื่อดูอาการนั้น สถานพยาบาลจะต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพคอยดูแลและเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ซึ่งสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิก อาจจะมิได้เตรียมความพร้อมในด้านบุคลากร และอุปกรณ์ไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เฉกเช่นสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือโรงพยาบาล ทำให้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที  อีกทั้ง พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541  ได้กำหนดให้ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลจะต้องตระหนักถึงสุขภาพ และชีวิตผู้ป่วยเป็นอันดับหนึ่ง หากผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้นหรือมีโอกาสที่จะทรุดตัวลงจะต้องรีบส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการดูแลทันที การปล่อยให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก จึงเป็นการกระทำผิดกฎหมายสถานพยาบาล ฐานประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะการให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการ จะมีโทษตามกฎหมาย

          ทั้งนี้ หากประชาชนมีเบาะแสการกระทำผิดของสถานพยาบาล ในเขตกรุงเทพฯ สามารถแจ้งได้ที่ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนกรม สบส.ทางหมายเลขโทรศัพท์ 02 193 7000 ต่อ 18618 หรือทางเฟซบุ๊ก : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สบส. กระทรวงสาธารณสุข ในวันและเวลาราชการ แต่หากอยู่ในส่วนภูมิภาคสามารถแจ้งได้ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ เพื่อร่วมคุ้มครองประชาชนให้ได้รับบริการทางการแพทย์ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย กรม สบส.เตือนคลินิกทุกแห่ง ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ชี้เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ และผิดกฎหมาย

          กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เตือนผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกทุกแห่ง ให้ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดห้ามให้ผู้รับบริการพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก ชี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ-ชีวิตของผู้ป่วย และผิดกฎหมายสถานพยาบาล 

          ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (กรม สบส.) กระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ปัจจุบัน สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกที่ให้บริการเสริมความงาม ส่วนใหญ่มักจะมีการศัลยกรรมเสริมความงามในรูปแบบต่างๆ  อาทิ การเสริมจมูก เสริมหน้าอก หรือปรับหน้าให้เรียว (V Shape) ฯลฯ ซึ่งบริการเสริมความงามดังกล่าวนั้นล้วนจะต้องกระทำในห้องผ่าตัด โดยการให้บริการห้องผ่าตัดประจำคลินิกนั้น ไม่ว่าจะเป็นห้องผ่าตัดขนาดเล็ก หรือใหญ่จะต้องขออนุญาตกับกรม สบส.หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เสียก่อน  และจะต้องจัดให้มีเตียงพักฟื้น 1.5 เตียง ต่อ 1 ห้องผ่าตัด ดังนั้น หากคลินิกมีห้องผ่าตัด 1 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 2 เตียง และหากมีห้องผ่าตัด 2 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 3 เตียง เพื่อดูอาการผู้ป่วยหลังผ่าตัดให้มีความปลอดภัย  โดยให้ผู้ป่วยพักฟื้นที่คลินิกในช่วงระยะเวลาที่คลินิกขออนุญาตดำเนินการ

          ทันตแพทย์อาคม กล่าวต่อว่า ด้วยการที่ประชาชนมีแนวโน้มที่จะเข้ารับบริการศัลยกรรมเสริมความงามจากคลินิกมากขึ้นในทุกๆปี  สิ่งที่น่าเป็นกังวล คือ การที่คลินิกให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือค้างคืนที่คลินิก อาจจะด้วยผู้รับบริการเสียเลือดมาก หรือเลือดไม่หยุดไหลจากแผลผ่าตัด หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ  ซึ่งไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตามก็ถือว่าเป็นการสร้างความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ป่วย เพราะการให้ผู้ป่วยพักฟื้นนอกเวลาทำการ หรือค้างคืนเพื่อดูอาการนั้น สถานพยาบาลจะต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพคอยดูแลและเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ซึ่งสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิก อาจจะมิได้เตรียมความพร้อมในด้านบุคลากร และอุปกรณ์ไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เฉกเช่นสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือโรงพยาบาล ทำให้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที  อีกทั้ง พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541  ได้กำหนดให้ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลจะต้องตระหนักถึงสุขภาพ และชีวิตผู้ป่วยเป็นอันดับหนึ่ง หากผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้นหรือมีโอกาสที่จะทรุดตัวลงจะต้องรีบส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการดูแลทันที การปล่อยให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก จึงเป็นการกระทำผิดกฎหมายสถานพยาบาล ฐานประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะการให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการ จะมีโทษตามกฎหมาย

          ทั้งนี้ หากประชาชนมีเบาะแสการกระทำผิดของสถานพยาบาล ในเขตกรุงเทพฯ สามารถแจ้งได้ที่ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนกรม สบส.ทางหมายเลขโทรศัพท์ 02 193 7000 ต่อ 18618 หรือทางเฟซบุ๊ก : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สบส. กระทรวงสาธารณสุข ในวันและเวลาราชการ แต่หากอยู่ในส่วนภูมิภาคสามารถแจ้งได้ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ เพื่อร่วมคุ้มครองประชาชนให้ได้รับบริการทางการแพทย์ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย กรม สบส.เตือนคลินิกทุกแห่ง ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ชี้เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ และผิดกฎหมาย

          กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เตือนผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกทุกแห่ง ให้ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดห้ามให้ผู้รับบริการพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก ชี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ-ชีวิตของผู้ป่วย และผิดกฎหมายสถานพยาบาล 

          ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (กรม สบส.) กระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ปัจจุบัน สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกที่ให้บริการเสริมความงาม ส่วนใหญ่มักจะมีการศัลยกรรมเสริมความงามในรูปแบบต่างๆ  อาทิ การเสริมจมูก เสริมหน้าอก หรือปรับหน้าให้เรียว (V Shape) ฯลฯ ซึ่งบริการเสริมความงามดังกล่าวนั้นล้วนจะต้องกระทำในห้องผ่าตัด โดยการให้บริการห้องผ่าตัดประจำคลินิกนั้น ไม่ว่าจะเป็นห้องผ่าตัดขนาดเล็ก หรือใหญ่จะต้องขออนุญาตกับกรม สบส.หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เสียก่อน  และจะต้องจัดให้มีเตียงพักฟื้น 1.5 เตียง ต่อ 1 ห้องผ่าตัด ดังนั้น หากคลินิกมีห้องผ่าตัด 1 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 2 เตียง และหากมีห้องผ่าตัด 2 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 3 เตียง เพื่อดูอาการผู้ป่วยหลังผ่าตัดให้มีความปลอดภัย  โดยให้ผู้ป่วยพักฟื้นที่คลินิกในช่วงระยะเวลาที่คลินิกขออนุญาตดำเนินการ

          ทันตแพทย์อาคม กล่าวต่อว่า ด้วยการที่ประชาชนมีแนวโน้มที่จะเข้ารับบริการศัลยกรรมเสริมความงามจากคลินิกมากขึ้นในทุกๆปี  สิ่งที่น่าเป็นกังวล คือ การที่คลินิกให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือค้างคืนที่คลินิก อาจจะด้วยผู้รับบริการเสียเลือดมาก หรือเลือดไม่หยุดไหลจากแผลผ่าตัด หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ  ซึ่งไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตามก็ถือว่าเป็นการสร้างความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ป่วย เพราะการให้ผู้ป่วยพักฟื้นนอกเวลาทำการ หรือค้างคืนเพื่อดูอาการนั้น สถานพยาบาลจะต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพคอยดูแลและเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ซึ่งสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิก อาจจะมิได้เตรียมความพร้อมในด้านบุคลากร และอุปกรณ์ไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เฉกเช่นสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือโรงพยาบาล ทำให้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที  อีกทั้ง พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541  ได้กำหนดให้ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลจะต้องตระหนักถึงสุขภาพ และชีวิตผู้ป่วยเป็นอันดับหนึ่ง หากผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้นหรือมีโอกาสที่จะทรุดตัวลงจะต้องรีบส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการดูแลทันที การปล่อยให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก จึงเป็นการกระทำผิดกฎหมายสถานพยาบาล ฐานประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะการให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการ จะมีโทษตามกฎหมาย

          ทั้งนี้ หากประชาชนมีเบาะแสการกระทำผิดของสถานพยาบาล ในเขตกรุงเทพฯ สามารถแจ้งได้ที่ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนกรม สบส.ทางหมายเลขโทรศัพท์ 02 193 7000 ต่อ 18618 หรือทางเฟซบุ๊ก : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สบส. กระทรวงสาธารณสุข ในวันและเวลาราชการ แต่หากอยู่ในส่วนภูมิภาคสามารถแจ้งได้ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ เพื่อร่วมคุ้มครองประชาชนให้ได้รับบริการทางการแพทย์ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย กรม สบส.เตือนคลินิกทุกแห่ง ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ชี้เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ และผิดกฎหมาย

        

          ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (กรม สบส.) กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ปัจจุบัน สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิกที่ให้บริการเสริมความงาม ส่วนใหญ่มักจะมีการศัลยกรรมเสริมความงามในรูปแบบต่างๆ  อาทิ การเสริมจมูก เสริมหน้าอก หรือปรับหน้าให้เรียว (V Shape) ฯลฯ ซึ่งบริการเสริมความงามดังกล่าวนั้นล้วนจะต้องกระทำในห้องผ่าตัด โดยการให้บริการห้องผ่าตัดประจำคลินิกนั้น ไม่ว่าจะเป็นห้องผ่าตัดขนาดเล็ก หรือใหญ่จะต้องขออนุญาตกับกรม สบส.หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เสียก่อน  และจะต้องจัดให้มีเตียงพักฟื้น 1.5 เตียง ต่อ 1 ห้องผ่าตัด ดังนั้น หากคลินิกมีห้องผ่าตัด 1 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 2 เตียง และหากมีห้องผ่าตัด 2 ห้อง จะต้องมีเตียงพักฟื้น 3 เตียง เพื่อดูอาการผู้ป่วยหลังผ่าตัดให้มีความปลอดภัย  โดยให้ผู้ป่วยพักฟื้นที่คลินิกในช่วงระยะเวลาที่คลินิกขออนุญาตดำเนินการ

          ด้วยการที่ประชาชนมีแนวโน้มที่จะเข้ารับบริการศัลยกรรมเสริมความงามจากคลินิกมากขึ้นในทุกๆปี  สิ่งที่น่าเป็นกังวล คือ การที่คลินิกให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือค้างคืนที่คลินิก อาจจะด้วยผู้รับบริการเสียเลือดมาก หรือเลือดไม่หยุดไหลจากแผลผ่าตัด หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ  ซึ่งไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตามก็ถือว่าเป็นการสร้างความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ป่วย เพราะการให้ผู้ป่วยพักฟื้นนอกเวลาทำการ หรือค้างคืนเพื่อดูอาการนั้น สถานพยาบาลจะต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพคอยดูแลและเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ซึ่งสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือคลินิก อาจจะมิได้เตรียมความพร้อมในด้านบุคลากร และอุปกรณ์ไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เฉกเช่นสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือโรงพยาบาล ทำให้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที  อีกทั้ง พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541  ได้กำหนดให้ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลจะต้องตระหนักถึงสุขภาพ และชีวิตผู้ป่วยเป็นอันดับหนึ่ง หากผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้นหรือมีโอกาสที่จะทรุดตัวลงจะต้องรีบส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการดูแลทันที การปล่อยให้ผู้ป่วยพักฟื้นเกินระยะเวลาที่ขออนุญาต หรือปล่อยให้ค้างคืนที่คลินิก จึงเป็นการกระทำผิดกฎหมายสถานพยาบาล ฐานประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะการให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการ จะมีโทษตามกฎหมาย

          ทั้งนี้ หากประชาชนมีเบาะแสการกระทำผิดของสถานพยาบาล ในเขตกรุงเทพฯ สามารถแจ้งได้ที่ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนกรม สบส.ทางหมายเลขโทรศัพท์ 02 193 7000 ต่อ 18618 หรือทางเฟซบุ๊ก : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สบส. กระทรวงสาธารณสุข ในวันและเวลาราชการ แต่หากอยู่ในส่วนภูมิภาคสามารถแจ้งได้ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ เพื่อร่วมคุ้มครองประชาชนให้ได้รับบริการทางการแพทย์ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย 

หนังสือพิมพ์ OPT NEWS ONLINE
วันที่ 16 - 30 พฤศจิกายน 2567
อปท.นิวส์เชิญเป็นแขก ดูทั้งหมด
12 ก.ย. 2567
กล่าวได้ว่าบทบาทของตำรวจไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน หลายท่านหลายคน หลังจากผ่านความเหน็ดเหนื่อย ความยากลำบากในการผดุงความยุติธรรม ไล่จับคนร้ายทั้งตัวใหญ่ตัวเล็กมาตลอดชีวิตราชการ เห็นความทุกข์ยาองประชาชน เห็นปัญหาของสังคมในทุกแง่มุม อดไม่ได้ที่หลังเกษียณจะก้าวเข้าส...